วันอาทิตย์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2558

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
เวลา  1-2  ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------
1.สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การนำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล จะทำให้เหตุการณ์นั้นๆ มีความน่าเชื่อถือ 

2.ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วัด
ส 4.1 ม.3/1  วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์
ม.3/2  ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ที่ตนสนใจ
        2.2  จุดประสงค์การเรียนรู้
               1)  วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ 
               2)  นำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว และท้องถิ่นของตนได้อย่างเหมาะสม
               3)  วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้

3.สาระการเรียนรู้
        3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
               1)  ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์สำหรับการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นตนเอง
               2)  นำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว และท้องถิ่นของตนเอง
               3)  วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการคิด
1)  ทักษะการวิเคราะห์
                2)  ทักษะการจัดระเบียบ
4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
        2. ใฝ่เรียนรู้
        3. มุ่งมั่นในการทำงาน

6. กิจกรรมการเรียนรู้

วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์

           นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน
            สื่อการเรียนรู้   :
              1.  ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์
      2.  บัตรภาพ
     1.  นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
     2.  ครูให้นักเรียนดูภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แล้วให้นักเรียน ช่วยกันบอกประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ครูนำมาให้ดู
     3. ครูนำตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์มาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของหลักฐาน พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ แล้วครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

คำถามกระตุ้นความคิด
        ถ้านักเรียนต้องการศึกษาข้อมูล หรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ควรศึกษาด้วยวิธีการใด
(วิเคราะห์ สังเคราะห์ ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์)


ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้
            สื่อ/แหล่งการเรียนรู้   :   
               1.  หนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ม.3  
               2.  หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
               3.  ใบงานที่ 1.1 - 1.2 
               4.  ห้องสมุด  
               5.  แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

1. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์     ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ จากหนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ  ในหัวข้อต่อไปนี้
1) จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
2) ข้อจำกัดของเรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
3) ความสำคัญของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์  แล้วบันทึกความรู้ที่ได้ลงในแบบบันทึกการอ่าน
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์เนื้อหาที่ศึกษา ผลัดกันอภิปราย และซักถามข้อสงสัยจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน
4. ครูอธิบายความรู้เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์เพิ่มเติมให้นักเรียนฟัง เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำใบงานที่ 1.1 เรื่อง ลำดับขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ แล้วร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง เสร็จแล้วนำส่งครู
6. ครูยกตัวอย่างกรณีตัวอย่างในการศึกษาเรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่า มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ ครูคอยอธิบายเพิ่มเติม
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง วิเคราะห์ตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เสร็จแล้วร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ จากนั้นนำส่งครูตรวจ
8. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ข้อ 2

คำถามกระตุ้นความคิด
        1.  นักเรียนคิดว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ มีความสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร 
(หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ เพราะหากหลักฐานที่ได้มาไม่มีความน่าเชื่อถือ ไม่สามารถบอกแหล่งที่มาได้ชัดเจน จะทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องไม่น่าเชื่อถือ ส่งผลให้ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาคลาดเคลื่อนไปด้วย)
       2.   เพราะเหตุใด เราจึงต้องศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)


ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้
            สื่อการเรียนรู้   :   ใบงานที่ 1.3
           1.  นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
  2.  ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำใบงานที่ 1.3 เรื่อง วิเคราะห์เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 
  3.  เมื่อทำเสร็จแล้วให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม ผลัดกันอธิบายผลงานใน ใบงานของตนเองให้เพื่อนฟัง พร้อมซักถามข้อสงสัยแลกเปลี่ยนความรู้กัน จากนั้นช่วยกันคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด เพื่อเตรียมนำเสนอผลงาน
 4.  นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

คำถามกระตุ้นความคิด
          ถ้าหากไม่ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ จะสามารถใช้วิธีใดได้อีกบ้าง อธิบายเหตุผล (พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างตาม (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ขั้นที่ 4 วัดและประเมินผล
            สื่อการเรียนรู้   :   ใบงานที่ 1.3
           1.  นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานในใบงานที่ 1.3 หน้าชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนนักเรียนเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง และให้ข้อเสนอแนะ
   2.  ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
   3.  นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

คำถามกระตุ้นความคิด
         นักเรียนคิดว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง  (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ครูมอบหมายให้นักเรียนทำรายงานการสืบค้นเหตุการณ์สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ที่นักเรียนสนใจ   กลุ่มละ 1 เรื่อง โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
1) การรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์
2) การประเมินคุณค่าของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
3) การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์
4) การเรียบเรียงข้อมูล
5) การเขียนรายงาน

         นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ
        ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

เครื่องมือ 
         แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 (ประเมินตามสภาพจริง)

เกณฑ์
        ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
        ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
        ตรวจใบงานที่ 1.3 ใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
        ตรวจแบบบันทึกการอ่าน แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
        ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำแสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
        สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
        สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
        ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
       ตรวจรายงานการสืบค้นเหตุการณ์สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ แบบประเมินรายงานการสืบค้นเหตุการณ์สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ม.3
2) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
(1)คาร์, อี.เอช. (2531). ประวัติศาสตร์คืออะไร. (ชาติชาย พณานานนท์, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
(2)จอห์น เอช อาร์โนลด์. (2549). ประวัติศาสตร์ของประวัติศาสตร์. (ไชยันต์ รัชชกูล, ผู้แปล).กรุงเทพมหานคร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
(3)วงเดือน นาราสัจจ์. (2550). ประวัติศาสตร์ : วิธีการและพัฒนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
3) ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์
4) บัตรภาพ
5) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ลำดับขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
6) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง วิเคราะห์ตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
7) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง วิเคราะห์เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
-http://www.maceducation.com/e-knowledge/2413117100/06.htm 
-http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/.../11/.../Mean.html

การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินรายงานการสืบค้นเหตุการณ์สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ 
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์


รายการประเมิน
1 การรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์
2 การประเมินคุณค่าของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
3 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์
                                                                                
ระดับคะแนน 4 3 2 1

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
         ............../.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ดีมาก = 4
ดี         = 3
พอใช้ = 2
ปรับปรุง = 1


เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11 - 12 ดีมาก
9 - 10 ดี
6 - 8         พอใช้
ต่ำกว่า 6 ปรับปรุง

บัตรภาพ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

ภาพที่ 3

ภาพที่ 4

ภาพที่ 5

ภาพที่ 6

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ลำดับขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์

คำชี้แจง  ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อความที่กำหนดว่า อยู่ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

1. แนวทางในการค้นหาคำตอบอย่างมีเหตุผล

2. พบข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
3. ตรวจสอบและประเมินค่าความน่าเชื่อถือของหลักฐาน
4. ตอบคำถามตามที่วางไว้
5. อธิบายเรื่องที่ศึกษาอย่างมีเหตุผล
6. เขียนรายงานเหตุผลการย้ายราชธานีของรัชกาลที่ 1
7. สัมภาษณ์ชาวจีนย่านเยาวราชเกี่ยวกับการทำทองในย่านเยาวราช
8. หมากต้องการทราบว่า วัดไชยวัฒนาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นในสมัยใด
9. สนามหลวง เดิมเรียกว่า ทุ่งพระเมรุ เป็นสถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าแผ่นดิน 
และพระบรมวงศานุวงศ์
10. จดหมายเหตุรัชกาลที่ 4 เป็นหลักฐานชั้นต้น

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ลำดับขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์

คำชี้แจง  ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อความที่กำหนดว่า อยู่ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

1. แนวทางในการค้นหาคำตอบอย่างมีเหตุผล
การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา

2. พบข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
การรวบรวมหลักฐาน

3. ตรวจสอบและประเมินค่าความน่าเชื่อถือของหลักฐาน
การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

4. ตอบคำถามตามที่วางไว้
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล

5. อธิบายเรื่องที่ศึกษาอย่างมีเหตุผล
การเรียบเรียงหรือการนำเสนอ

6. เขียนรายงานเหตุผลการย้ายราชธานีของรัชกาลที่ 1
การเรียบเรียงหรือการนำเสนอ

7. สัมภาษณ์ชาวจีนย่านเยาวราชเกี่ยวกับการทำทองในย่านเยาวราช
การรวบรวมหลักฐาน

8. หมากต้องการทราบว่า วัดไชยวัฒนาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นในสมัยใด
การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา

9. สนามหลวง เดิมเรียกว่า ทุ่งพระเมรุ เป็นสถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าแผ่นดิน 
และพระบรมวงศานุวงศ์
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล

10. จดหมายเหตุรัชกาลที่ 4 เป็นหลักฐานชั้นต้น
การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

ใบงานที่ 1.2 เรื่อง วิเคราะห์ตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

คำชี้แจง  ให้นักเรียนอ่านตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ แล้ววิเคราะห์และตอบคำถาม

ตัวอย่างที่ 1
“ศุภมัศดุศักราช 1373 กุกกุฏสังวัจฉระเชษฐมาศกาลปักเขปัญจมีดฤษถีพุทธวารกาลบริเฉทกำหนด พระบาทสมเด็จพระบรมนารถบพิตร...เสดจ์ออกณะพระธินั่งดิลกมาลามหาไพชนประสาท...จึงมีพระราชโองการมาณพระบันทูลสุรสีหนาทดำรัสให้ตราพระราชบัญญัติเผดียงโฆษนาการแก่ชาวเจ้าเง่ายุพราชนาฏปิโยรสา   พระภาคีไนย...อันมีพระราชอาณาเขตพระนครศรีอยุธยา มหาดิลกภพนพรัตนราชธานี...”

ที่มา : พระอัยการกระบดศึก ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 จุลศักราช 1166 พิมพ์ตามฉะบับหลวง ตราสามดวง. (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล่ม 2, 2529.) : หน้า 462.


1. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร
2. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว ได้แก่อะไรบ้าง
3. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
4. เหตุการณ์ดังกล่าว มีความสำคัญอย่างไร
5. การศึกษาเหตุการณ์ดังกล่าว มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร
ตัวอย่างที่ 2
“วิกเตอร์ อะเล็กซานเดอร์ บรูซ เอิร์ลที่ 9 แห่งเอลกินเป็นนักการเมืองพรรคเสรีนิยมของอังกฤษ (Liberal Party) … เดิมรับราชการอยู่ในสมัยนายกรัฐมนตรีวิลเลียม แกลดสโตน...เอลกินมิได้ประสบความสำเร็จในฐานะอุปราชผู้บริหารสูงสุดในอินเดีย แต่เนื่องจากเขาเป็นผู้ปกครองในยุคจักรวรรดินิยมในอินเดีย (ค.ศ. 1858-1905)     ซึ่งอังกฤษให้ความสำคัญในการปกป้องจักรวรรดิมากกว่าการพัฒนาดินแดนเช่นในยุคปฏิรูป (ค.ศ. 1905-1937)...”

ที่มา : ศรีสุรางค์ พูลทรัพย์. “Elgin, Victor Alexander Bruce, 9” Earl of (1849-1917) : วิกเตอร์อะเล็กซานเดอร์ บรูซ เอิร์ลที่ 9 แห่งเอลกิน (พ.ศ. 2392-2460)”, สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ : เอเชีย เล่ม 3 อักษร E-G ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2551) : หน้า 58-59.

1. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร
2. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว ได้แก่อะไรบ้าง
3. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
4. เหตุการณ์ดังกล่าว มีความสำคัญอย่างไร
5. การศึกษาเหตุการณ์ดังกล่าว มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร
ใบงานที่ 1.2 เรื่อง วิเคราะห์ตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

คำชี้แจง  ให้นักเรียนอ่านตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ แล้ววิเคราะห์และตอบคำถาม

ตัวอย่างที่ 1
“ศุภมัศดุศักราช 1373 กุกกุฏสังวัจฉระเชษฐมาศกาลปักเขปัญจมีดฤษถีพุทธวารกาลบริเฉทกำหนด พระบาทสมเด็จพระบรมนารถบพิตร...เสดจ์ออกณะพระธินั่งดิลกมาลามหาไพชนประสาท...จึงมีพระราชโองการมาณพระบันทูลสุรสีหนาทดำรัสให้ตราพระราชบัญญัติเผดียงโฆษนาการแก่ชาวเจ้าเง่ายุพราชนาฏปิโยรสา พระภาคีไนย...อันมีพระราชอาณาเขตพระนครศรีอยุธยา มหาดิลกภพนพรัตนราชธานี...”

ที่มา : พระอัยการกระบดศึก ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 จุลศักราช 1166 พิมพ์ตามฉะบับหลวง ตราสามดวง. (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล่ม 2, 2529.) : หน้า 462.


1. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร

2. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว ได้แก่อะไรบ้าง
3. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
4. เหตุการณ์ดังกล่าว มีความสำคัญอย่างไร
5. การศึกษาเหตุการณ์ดังกล่าว มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ตัวอย่างที่ 2
“วิกเตอร์ อะเล็กซานเดอร์ บรูซ เอิร์ลที่ 9 แห่งเอลกินเป็นนักการเมืองพรรคเสรีนิยมของอังกฤษ (Liberal Party) … เดิมรับราชการอยู่ในสมัยนายกรัฐมนตรีวิลเลียม แกลดสโตน...เอลกินมิได้ประสบความสำเร็จในฐานะอุปราชผู้บริหารสูงสุดในอินเดีย แต่เนื่องจากเขาเป็นผู้ปกครองในยุคจักรวรรดินิยมในอินเดีย (ค.ศ. 1858-1905)     ซึ่งอังกฤษให้ความสำคัญในการปกป้องจักรวรรดิมากกว่าการพัฒนาดินแดนเช่นในยุคปฏิรูป (ค.ศ. 1905-1937)...”

ที่มา :  ศรีสุรางค์ พูลทรัพย์. “Elgin, Victor Alexander Bruce, 9” Earl of (1849-1917) : วิกเตอร์อะเล็กซานเดอร์ บรูซ  เอิร์ลที่ 9 แห่งเอลกิน (พ.ศ. 2392-2460)”, สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ : เอเชีย เล่ม 3 อักษร E-G ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2551) : หน้า 58-59.

1. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร   
2. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว ได้แก่อะไรบ้าง 
3. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด   
4. เหตุการณ์ดังกล่าว มีความสำคัญอย่างไร 
5. การศึกษาเหตุการณ์ดังกล่าว มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร
 
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)


ใบงานที่ 1.3 เรื่อง วิเคราะห์เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

คำชี้แจง  ให้นักเรียนนำตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์และตอบคำถาม เหตุการณ์เรื่อง  (สาระสำคัญ)  ที่มา .

1. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร 
2. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว ได้แก่อะไรบ้าง 
3. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด   
4. เหตุการณ์ดังกล่าว มีความสำคัญอย่างไร   
5. การศึกษาเหตุการณ์ดังกล่าว มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร 

ใบงานที่ 1.3 เรื่อง วิเคราะห์เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

คำชี้แจง  ให้นักเรียนนำตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์และตอบคำถาม เหตุการณ์เรื่อง
(สาระสำคัญ)  ที่มา .

1. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร 
2. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว ได้แก่อะไรบ้าง   
3. หลักฐานที่ปรากฏในเหตุการณ์ดังกล่าว มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด 
4. เหตุการณ์ดังกล่าว มีความสำคัญอย่างไร 
5. การศึกษาเหตุการณ์ดังกล่าว มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร 
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

แบบบันทึกการอ่าน
ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง นามปากกา
สำนักพิมพ์    สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์     
จำนวนหน้า  ราคา บาท อ่านวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา
         
1. สาระสำคัญของเรื่อง
2. วิเคราะห์ข้อคิด/ประโยชน์ที่ได้จากเรื่องที่อ่าน
3. สิ่งที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
4. ข้อเสนอแนะของครู
ลงชื่อ  นักเรียน ลงชื่อ        ผู้ปกครอง
              (                      )       (                  )

        ลงชื่อ                                    ครูผู้สอน
              (                              ) 


เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานมีความสมบูรณ์ชัดเจน    ให้ 4 คะแนน
ผลงานมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย    ให้ 3 คะแนน
ผลงานมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่    ให้ 2 คะแนน
ผลงานมีข้อบกพร่องมาก                    ให้ 1 คะแนน

แบบประเมิน     การนำเสนอผลงาน

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
1 นำเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง
2 การลำดับขั้นตอนของเนื้อเรื่อง
3 การนำเสนอมีความน่าสนใจ
4 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
5 การตรงต่อเวลา
                                                                                 รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
                                                                                   ............../.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง


แบบสังเกตพฤติกรรม    การทำงานกลุ่ม

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน

ลำดับที่ ชื่อ-สกุล
ของผู้รับการ
ประเมิน ความร่วมมือกันทำกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การรับฟังความคิดเห็น การตั้งใจทำงาน การแก้ไขปัญหา/หรือปรับปรุงผลงานกลุ่ม รวม
20 คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
     
 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
                                                                                              ............../.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง

แบบประเมิน    คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน

คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
1. รักชาติ ศาสน์
    กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมาย
ของเพลงชาติ
1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี
1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทำกิจกรรมกับสมาชิกในโรงเรียนและชุมชน
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี
ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความ
เป็นชาติไทย
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา
อย่างสม่ำเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน
1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสถาบัน
พระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมในพระราชกรณียกิจ
พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง
2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระทำความผิด ทำตาม
สัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่าง
ที่ดีด้านความซื่อสัตย์
2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง
และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์
3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
และโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรม
ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน และรับผิดชอบในการทำงาน
4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ
4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล
5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด
คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม
5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล
5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อื่น
กระทำผิดพลาด
                                                                                                                แบบประเมิน    คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ)

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน

คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
5.5 วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้ชีวิตประจำวันบนพื้นฐาน
ของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับ
และปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ
7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน
8.2 อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ และแบ่งปันสิ่งของ และช่วยแก้ปัญหาให้
ผู้อื่น
8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน
8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียนและชุมชน

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
                                                                                              ............../.................../................



เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ   ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้   3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน





บันทึกหลังแผนการสอน

Ÿ ด้านความรู้
Ÿ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
Ÿ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
Ÿ ด้านอื่นๆ  (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

Ÿ ปัญหา/อุปสรรค
Ÿ แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ
(                 )
ตำแหน่ง



บันทึกหลังหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 
ตอนที่ 1 นักเรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหน่วยการเรียนรู้
ต่อไปนี้    ส 4.1 (ม.3/1, ม.3/2)
ด้านความรู้ 
(จำนวน คน  คิดเป็นร้อยละ              )
ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ด้านอื่นๆ  (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))
สรุปผลจากการประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจำหน่วยการเรียนรู้
ระดับคุณภาพดีมาก จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
ระดับคุณภาพดี จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
ระดับคุณภาพพอใช้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
ระดับคุณภาพปรับปรุง จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
ปัญหา/อุปสรรค
แนวทางการแก้ไข
ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ
(         )
       ตำแหน่ง

ตอนที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ด้านคุณภาพผู้เรียน) ร้อยละ
มาตรฐานที่ 1  ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
1.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายสม่ำเสมอ
1.2 มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
1.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
1.4 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
1.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
1.6   สร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ 2  ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
2.1 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
2.2 เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
2.3 ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
2.4 ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3  ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว
3.2 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
3.3 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
มาตรฐานที่ 4  ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหา                  ได้อย่างมีสติสมเหตุสมผล
4.1 สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง
4.2 นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
4.3 กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
4.4 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
มาตรฐานที่ 5  ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์
5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานที่ 6  ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดี ต่ออาชีพสุจริต
6.1 วางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
6.2 ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง
6.3 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
6.4 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ

บันทึกหลังแผนการสอน
Ÿ      ด้านความรู้
                                                                                                                                      
                                                                                                                                      
        Ÿ  ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
                                                                                                                                      
                                                                                                                                      
        Ÿ  ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์                                                              
                                                                                                                                      
                                                                                                                                      
        Ÿ  ด้านอื่นๆ  (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))        
                                      

 Ÿ      ปัญหา/อุปสรรค
                                                                                                                                      
                                                                                                                                      
        Ÿ  แนวทางการแก้ไข
                                                                                                                                      
                                                                                                                                      

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
          ข้อเสนอแนะ                                                                                                                
                                                                                                                                      
                                                                                           ลงชื่อ                                     
                                                                                          (                                         )
                                                                                           ตำแหน่ง                                  

บันทึกหลังหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 ตอนที่ 1   นักเรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหน่วยการเรียนรู้
                          ต่อไปนี้    4.1 (ม.3/1, ม.3/2)                                                                                                      
          Ÿ   ด้านความรู้
                                                                                                                                                                        
                                                                                                                                                                        
                                                                           (จำนวน                                      คน  คิดเป็นร้อยละ                                      )
          Ÿ   ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
                                                                                                                                                                        
                                                                                                                                                                        
          Ÿ   ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
                                                                                                                                                                        
                                                                                                                                                                        
          Ÿ   ด้านอื่นๆ  (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))